ประวัติตระกร้อ ความเป็นมากีฬาตระกร้อ ทีมตระกร้อไทย

ประวัติตระกร้อ

ประวัติตระกร้อ ตระกร้อไทย กีฬาตระกร้อ มีความเป็นมาอย่างไร ?

ประวัติตระกร้อ ในครั้งนี้เราจะมาพูดถึงเรื่องความเป็นมาของ กีฬาตระกร้อ ที่จะเป็นของ ตระกร้อไทย ซึ่งหากจะพูดกันแล้วนั่นในการจัด การแข่งขันตะกร้อ ตะกร้อนับได้ว่าคือการละเล่นที่เป็นของไทยตั้งแต่ในสมัยโบราณ ทว่าก็ไม่ได้มีหลักฐานที่แน่นอนในเรื่องของการกำเนิดว่า ตระกร้อ นั่นได้เริ่มเล่นขึ้นมาตั้งแต่สมัยไหน ทว่าหากดูจากหลักฐานคร่าวก็เกิดขึ้นราว ๆ ช่วงต้นของกรุงรัตนโกสินทร์ ที่ประเทศใกล้เคียงได้เล่นตะกร้อด้วยเช่นกัน ซึ่งจะยังไม่จำกัดจำนวนคนเล่น ที่ตระกร้อตอนนั้นจะเล่นแบบหมู่ ตระกร้อคู่ ตระกร้อทีม หรือตระกร้อเดี่ยวก็เล่นกันได้ ที่จะเล่นกันที่ลานกว้างกัน

ตะกร้อเดิมทีจะใช้หวายที่ถักขึ้นมาเป็นลูกตะกร้อ ที่ในเวลาปัจจุบันนี้จะนิยมใช้กันก็คือ ลูกตะกร้อพลาสติกด้วยนั่นเอง ในการเตะตระกร้อนั่นคนเล่นเอง นั่นจะได้มาออกกำลังกายกันในทุกสัดส่วน ได้ฝึกฝนกับความว่องไว ความช่างสังเกต ได้ฝึกไหวพริบจากการคิดในการเล่น นักกีฬาตระกร้อ เลยจะได้มีบุคลิกภาพดีดูสง่างามแข็งแรง แล้วในการเล่น เซปักตะกร้อ นี้ก็พูดได้ว่าเป็นเอกลักษณ์อย่างหนึ่งของกีฬาไทยด้วย จากการค้นคว้าเรื่องของหลักฐานที่เกี่ยวกับจุดกำเนิดของ กีฬาตะกร้อ ที่เริ่มในอดีตจะยังหาข้อสรุปที่ชัดเจนไม่ได้ว่า กีฬาตะกร้อมีจุดกำเนิดมาจากที่ไหนก็ตาม แต่ก็ได้มีการสันนิษฐานอยู่หลายเหตุผลเช่นกัน การเล่นตระกร้อ ตะกร้อกีฬาไทยตระกร้อกีฬายอดนิยม

ประวัติตระกร้อ เซปักตระกร้อ การแข่งขันตระกร้อ ข้อสันนิษฐานของจุดกำเนิดมีอะไรบ้าง ?

ในเรื่องของข้อสันนิษฐานของ กีฬาตระกร้อ ในเรื่องของจุดกำเนิดนั่นก็จะมี ประเทศพม่าในตอนประมาณปี พ.ศ.2310 พม่าได้มาตั้งค่ายที่โพธิ์สามต้น แล้วได้เล่นกีฬาอย่าง ตะกร้อ นี้ที่ทางประเทศพม่านั้นจะเรียกกันว่า ชิงลง

ส่วนทางด้านของประเทศมาเลเซียได้ออกมาประกาศว่า เซปักตะกร้อ นี้คือกีฬาที่เป็นของประเทศมาลายู ซึ่งเดิมทีจะมีชื่อเรียกกันว่า ซีปักรากา (Sepak Raga) ซึ่งในคำว่า Raga ก็มีความหมายว่าตะกร้านั่นเอง 

ของทางด้านประเทศฟิลิปปินส์ นั่นก็ให้ความนิยมเล่นตระกร้อมานานเหมือนกันซึ่งจะเรียกชื่อว่า Sipak

ทางประเทศจีนเองก็ได้มีกีฬาชนิดหนึ่ง ที่คล้ายคลึงกับกีฬาตะกร้อ ที่จะเป็นการเตะตะกร้อด้วยลูกหนังที่ปักด้วยขนไก่ หากได้เห็นจากภาพเขียน รวมไปถึงพงศาวดารของประเทศจีน คนจีนกวางตุ้งที่ได้ออกเดินทางเพื่อตั้งรกรากใหม่ ที่ประเทศอเมริกานั่นก็ได้เอาตะกร้อขนไก่นี้แหล่ะที่นำไปเผยแพร่ที่นั่น ที่จะมีชื่อเรียกว่าเตกโก (Tek K’au) ที่แปบว่าการเตะลูกขนไก่ที่จะเล่นกันเหมือนกับตระกร้อเดี่ยว ตระกร้อคู่ ตระกร้อทีม อีกด้วยเข่นกันนั่นเอง

ที่ประเทศเกาหลี กีฬาตระกร้อนี้ก็จะลักษณะคล้ายของประเทศจีน แต่ลักษณะลูกตะกร้อที่ใช้เล่นจะแตกต่างกัน ซึ่งที่เกาหลีจะใช้ดินเหนียวแล้วห่อด้วยผ้าสำลี แล้วนำหางของไก่ฟ้าปักลงไปที่ลูก

ประวัติตระกร้อ

ส่วนที่ประเทศไทยนี้ก็มีความนิยมมาก กับการเล่นกีฬาอย่างตะกร้อนี้มายาวนานอย่างมากแล้ว ที่ได้ประยุกต์ให้เข้ากับประเพณีของชาติไทย ได้อย่างมีความกลมกลืนมีความสวยงาม ไม่ว่าจะด้านทักษะหรือว่าด้านความคิด ทั้งหมดทั้งมวลนี้เลยพูดได้เลยว่านี่คือกีฬายอดนิยมที่เป็น กีฬาเอเชีย โดยแท้จริงเลยทีเดียวกับกีฬาชนิดนี้

ทีนี้มาดูกันที่ประวัติกีฬา ตะกร้อไทย ซึ่งในสมัยโบราณประเทศไทย ก็จะมีกฎหมายรวมถึงวิธีลงโทษผู้ที่มำความผิด คือจะเอานักโทษเข้าไปในสิ่งกลม ๆ ที่จะสานขึ้นโดยใช้หวายแล้วให้ช้างมาเตะ สิ่งหนึ่งที่สนับสนุนในเรื่องประวัติตะกร้อได้อย่างดี ก็คือ พระราชนิพนธ์เรื่องอิเหนา ที่เป็นของรัชกาลที่ 2 ที่เนื้อเรื่องจะมีอยู่บางตอนที่ได้พูดถึงการเล่นตะกร้อ บริเวณระเบียงพระอุโบสถของวัดพระศรีรัตนศาสดาราม

ที่เขียนเรื่องรามเกียรติ์ จะมีภาพของการเตะตะกร้อไว้ให้ได้เห็นกัน แถมหากดูในภูมิศาสตร์ของไทยยังได้สนับสนุนให้ได้รู้ถึงประวัติตะกร้อ ที่ประเทศไทยเรานั้นได้อุดมไปด้วยไม้ไผ่หวาย คนไทยเลยนิยมเอาหวายนี้มาสานขึ้นเป็นเครื่องใช้ กับนำมาใช้ในการละเล่นพื้นบ้านกันด้วย ประเภทกีฬาตะกร้อของประเทศไทย ก็จะมีอยู่หลายประเภทอีกด้วยคือ ตะกร้อวง ตะกร้อลอดห่วง ตะกร้อชิงธง รวมไปถึงการแสดงตะกร้อแบบพลิกแพลง ในการเล่นตะกร้อที่ประเทศอื่นจะยังไม่ได้มีหลากหลาย เท่ากับของประเทศไทยของเรา

ตะกร้อไทย ได้มีวิวัฒนาการมาแบบต่อเนื่อง ไม่ว่าจะด้านรูปแบบหรือว่าวัตถุดิบที่ในสมัยแรกนั้นคือผ้า ,หนังสัตว์ ,หวาย มาถึงปัจจุบันที่ใช้วัสดุประเภทสังเคราะห์อย่างพลาสติก ส่วนในความหมายของ ตะกร้อ ตามแบบฉบับพจนานุกรมราชบัณฑิตสถาน พ.ศ.2525 ก็จะจำกัดความได้ว่า ลูกกลมที่สานขึ้นโดยใช้หวายเป็นตาใช้สำหรับเตะ เซียนตะกร้อประวัติตระกร้อ

ประวัติตระกร้อ วิวัฒนาการการเล่นสู่ ตระกร้อคู่ ตระกร้อทีม มีวิวัฒนาการมาอย่างไร ?

วิวัฒนาการของการเล่น กีฬาตระกร้อ ซึ่งวิวัฒนาการของการเล่นก็ได้พัฒนามาแบบต่อเนื่องตั้งแต่สมัยแรก ๆ ที่ยังเป็นการช่วยกันเตะลูกตระกร้อ เพื่อไม่ให้ตกลงสู่พื้นต่อมาได้มีความชำนาญ รวมถึงหลีกหนีเรื่องความจำเจ เลยได้มีการเริ่มเล่นโดยใช้ศีรษะ ใช้เข่า ใช้ศอก ใช้หัวไหล่ ที่ได้เพิ่มท่าที่ยากท่าที่สวยงามเข้าไปตามลำดับ แล้วหลังตากนั้นได้ตกลงในเรื่องของกติกาการเล่น ที่จะเอื้ออำนวยกับผู้เล่นโดยรวม ที่จะแตกต่างไปในแต่ละสภาพภูมิประเทศในพื้นที่ต่าง ๆ แต่ก็จะใกล้เคียงกันอยู่พอสมควรเลย จนได้เกิดขึ้นมาเป็น ตะกร้อข้ามตาข่าย ,ตะกร้อลอดบ่วง ,ตะกร้อพลิกแพลง, ตะกร้อทีม , ตระกร้อคู่ ที่เกิดขึ้นมาให้ได้เล่นกัน พอได้มีการคิดกติกาท่าทางการเล่นที่ออกมาลงตัว ก็ได้เริ่มมีการจัด การแข่งขันตระกร้อ เกิดขึ้นที่ประเทศไทยขึ้นมาดังนี้ พ.ศ.2472 กีฬาตะกร้อได้เริ่มแข่งขันกันในครั้งแรกที่สมาคมกีฬาสยาม

พ.ศ.2476 สมาคมกีฬาสยามได้ประชุมในการร่างกฎกติกาสำหรับ การแข่งขันตะกร้อ ที่เล่นข้ามตาข่ายที่เปิดการแข่งขันเป็น ประเภทประชาชนมาเป็นครั้งแรกเลย

พ.ศ.2479 ด้านการศึกษาก็ได้เผยแพร่ในการฝึกทักษะ ขึ้นที่ในโรงเรียนมัธยมชาย รวมถึงเปิดให้ได้แข่งขันกันอีกด้วย

พ.ศ.2480 ก็มีประชุมที่ได้จัดทำการแก้ไขด้านกฎระเบียบ ให้มีความสมบูรณ์มากยิ่งขึ้น ที่ได้อยู่ที่ความควบคุมดูแลโดย เจ้าพระยาจินดารักษ์ กับกรมพลศึกษาที่ได้ออกประกาศรับรองขึ้นแบบเป็นทางการ

พ.ศ.2502 ได้จัดการแข่งขันกีฬาแหลมทองครั้งที่1 ที่จัดที่กรุงเทพฯ แล้วได้เชิญชวนบรรดา นักกีฬานักตะกร้อ ของทางพม่าเพื่อมาแสดงในเรื่องของความสามารถกับการเล่นตะกร้อแบบพลิกแพลงขึ้น

พ.ศ.2504 กีฬาแหลมทองครั้งที่2 ที่ทางประเทศพม่านั่นได้เกียรติในการเป็นเจ้าภาพจัดแข่งขัน ก็มีนักตะกร้อของไทยไปร่วมมากมาย

พ.ศ.2508 กีฬาแหลมทองครั้งที่3 ได้จัดที่ประเทศมาเลเซีย แล้วได้บรรจุการเตะตะกร้อไว้ที่ 3 ประเภทด้วยกัน ไว้เพื่อการแข่งขันเลยก็คือ ตะกร้อวง,ตะกร้อข้ามตาข่าย ,ตะกร้อลอดบ่วง ขึ้นมานั่นเอง เซียนตะกร้อประวัติตระกร้อ

ตระกร้อ กีฬาเอเชีย ที่ได้รับความนิยมอย่างมาก

เซปักตระกร้อ ได้มีการการจัดประชุมเพื่อได้วางแนวทางในเรื่องกติกา ที่จะมีทั้งเป็ยแบบภาษาไทย และเป็นภาษาอังกฤษ เพื่อให้เข้าใจกันได้ง่ายและสะดวก กับการเล่นการเข้าใจในกติกาแก่ผู้ชมและ นักกีฬาตระกร้อ โดยส่วนรวมได้เข้าใจกันด้วย ซึ่งพอเสร็จจากกีฬาแหลมทองในครั้งที่ 3 ไปแล้วนั้นกีฬาตะกร้อก็ได้

ประวัติตระกร้อ

รับความนิยมที่มากนิ่งขึ้นแบบสุด ๆ แล้วทีนี้บทบาททางฝั่งประเทศมาเลเซียก็ได้เพิ่มมากขึ้นด้วย ในการเข้าร่วมการประชุมกับกฎกติกาของกีฬาตะกร้อ ที่เป็นประเภทข้ามตาข่ายที่เรียกว่า เซปักตะกร้อ ที่ส่งผลกับกีฬาตะกร้อข้ามตาข่ายที่ได้บรรจุ มาเป็นการแข่งขันกีฬาแหลมทองในครั้งที่ 4 แล้วยังได้ขึ้นมาเป็น กีฬาเอเชีย มาจนถึงในยุคปัจจุบัน ที่ยังคงได้รับความนิยมสูงที่สุดเช่นเดิมด้วย

นักกีฬาตระกร้อ ที่เป็นที่รู้จักของไทยมีใครบ้าง ?

กีฬาเอเชีย อย่างกีฬาตระกร้อนี้ได้รับความนิยมสูงแล้ว นักกีฬาตระกร้อ ของไทยก็ได้เป็นที่รู้จักมากด้วยเช่นกัน ที่ทำให้กีฬาตระกร้อไทยมีสเน่ห์มากยิ่งขึ้น นักกีฬาตะกร้อที่เป็นที่รู้จักของไทยก็จะมี อิทธิพล คมชัยศักดิ์ หากย้อนเวลาไปประมาณ 30 ปีที่ผ่านมา โอ่ง อิทธิพล คมชัยศักดิ์ เป็นหนึ่งในตัวฟาดหลักทีมตะกร้อไทยสมัยนั้นเลย ที่ช่วยพาทีมไทยประสบความสำเร็จมาได้หลายรายการ อย่างศึกเอเชียนเกมส์ในครั้งที่ 11 ตัดขั้นที่กรุงปักกิ่ง ของประเทศจีน นี่คือเอเชียนเกมส์ครั้งแรกของตะกร้อ ที่ได้บรรจุเข้าไปในการแข่งขัน

แม้ว่าได้มาเแค่เหรียญเงินก็ตามที แต่เพราะลีลาฟาดเท้าขวาอันสวยงาม ที่เต็มไปด้วยคุณภาพนี้เลยทำให้อดีตนักตะกร้อทีมชาติไทยคนนี้ คือหนึ่งในตัวฟาดขวัญใจแฟนตระกร้อไทยไปได้ทั้งประเทศ ตชอดที่เขานั่นรับใช้ทีมชาติอยู่ ส่วนจุดเด่นในการฟาดที่ทำให้แฟนตะกร้อ เกิดความชื่นชอบไปตามกันก็จะเป็น การขึ้นฟาดที่มีหลากหลายรูปแบบ มีลูกหนักลูกเบา ที่บล็อกทีมคู่แข่งจับทางไม่ได้ นิ่งเฉพาะการขึ้นแตะหยอดทางซ้าย ที่กลายเป็นท่าไม้ตายของเจ้าตัวเลยด้วย

นอกจากนี้ทีมตระกร้อไทยในแต่ละยุคก็จะมี นักกีฬาตระกร้อ ที่โด่งดังอย่างเช่น อนุวัฒน์ ชัยชนะ, วิรัช โพธิ์ม่วง, พูนศักดิ์ เพิ่มทรัพย์, พรชัย เค้าแก้ว ที่ได้สร้างชื่อเสียงให้กับตระกร้อไทยกันมาแล้วทุกคน การเล่นตระกร้อ ตะกร้อกีฬาไทยตระกร้อกีฬายอดนิยม

ตะกร้อออนไลน์

สมัครFacebook

สมัครTwitter

เปิดบัญชีกรุงไทย

ใช้Google